บอย บุเรงนอง<RZ>
|
|
« ตอบ #6220 เมื่อ: 04 กุมภาพันธ์ 2011 16:39:14 » |
|
ไม่อยู่ไปอบรมที่ทำงานคับบบบ อดเลยงานนี้
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NosDriVe
|
|
« ตอบ #6221 เมื่อ: 05 กุมภาพันธ์ 2011 07:53:01 » |
|
คืนนี้ ทุ่มครึ่ง คุยงานเบิร์ธเดย์ที่ ลงเอย เด้อ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ถ้าไม่ทนเหนื่อย ทนลำบากมาด้วยกัน ก็ไม่รู้หรอกว่าแต่ละคนให้ใจกันแค่ไหน ใช่มั้ย พิเรณทีม
|
|
|
aragon < RZ >
|
|
« ตอบ #6222 เมื่อ: 05 กุมภาพันธ์ 2011 08:21:13 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
Nu MaI <RZ>
|
|
« ตอบ #6224 เมื่อ: 05 กุมภาพันธ์ 2011 11:32:53 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NosDriVe
|
|
« ตอบ #6225 เมื่อ: 05 กุมภาพันธ์ 2011 14:46:10 » |
|
taxi พุ่งออกจากซอยตัดหน้า
ซัดเต็มๆกลางลำ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ถ้าไม่ทนเหนื่อย ทนลำบากมาด้วยกัน ก็ไม่รู้หรอกว่าแต่ละคนให้ใจกันแค่ไหน ใช่มั้ย พิเรณทีม
|
|
|
PyoungJ
|
|
« ตอบ #6226 เมื่อ: 05 กุมภาพันธ์ 2011 19:18:37 » |
|
taxi พุ่งออกจากซอยตัดหน้า
ซัดเต็มๆกลางลำ
หายไวๆเด้อ..
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
บอย บุเรงนอง<RZ>
|
|
« ตอบ #6228 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 11:55:51 » |
|
หายไวๆคับอากาล่าสุดตอนนี้เปงงัยคับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
aragon < RZ >
|
|
« ตอบ #6229 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 12:12:28 » |
|
คนปลอดภัยแล้วคับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
บอลลูน 0303 !RZ!
|
|
« ตอบ #6230 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 14:59:03 » |
|
ขอให้หายไวนะครับ ต๊อป คุณพระคุ้มครอง สาธุ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NosDriVe
|
|
« ตอบ #6231 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 15:02:23 » |
|
โรคกรดไหลย้อน(Gastroesophageal Reflux Disease: GERD)
คัดลอกจาก บทความ ของ ผศ. นพ. ปารยะ อาศนะเสน ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทย ศาสตร์ศิริราชพยาบาล
โรค กรดไหลย้อน (Gastroesophageal Reflux Disease: GERD) หมายถึงโรคที่มีอาการซึ่งเกิดจากการ ไหลย้อนกลับของกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะ อาหารขึ้นไปในหลอด อาหารส่วนบนอย่างผิดปกติ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ ในเวลากลางวัน หรือกลางคืน หรือแม้แต่ผู้ป่วยไม่ ได้รับประทานอาหารก็ตาม ทำให้เกิดอาการจากการ ระคายเคืองของกรด เช่น อาจทำให้เกิดหลอดอาหาร อักเสบและมีแผล หรือ หลอดอาหารอักเสบโดยไม่เกิดแผล หรือถ้ากรดไหลย้อนขึ้น มาเหนือกล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารส่วนบน อาจทำให้เกิดอาการนอก หลอดอาหาร (atypical or extraesophageal GERD) เช่น อาการทางปอด หรือ อาการทางคอและกล่องเสียง (laryngopharyngeal reflux : LPR)
โดย ปกติร่าง กายจะมีกลไกป้องกัน ไม่ให้เกิดภาวะไหลย้อนกลับของกรดในกระเพาะ อาหารขึ้นไป ใน ระบบทางเดินอาหารส่วนบน เช่น การบีบตัวของหลอดอาหาร การทำงานของกล้ามเนื้อ หูรูดของหลอดอาหารส่วนบน และส่วนล่าง เยื่อบุของหลอดอาหารมี กลไกป้องกันการทำลายจากกรด การที่เกิดโรคกรดไหลย้อน นั้นเชื่อว่าเกิดจากกล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหาร ส่วนล่าง มีการคลายตัวอย่างผิดปกติ ทำให้มีการไหลย้อนกลับ ของกรดขึ้นไปในหลอดอาหารได้ง่าย โดยปกติถ้ากรดไหลย้อน ขึ้นไปในคอหอยจะกระตุ้นให้กล้ามเนื้อหูรูดของหลอด อาหาร ส่วน บนหดตัว ป้องกันไม่ให้กรดไหลย้อนขึ้นไป ผู้ป่วยที่เป็น โรค กรดไหลย้อนนั้นเชื่อว่ามีการทำงานของระบบป้องกัน ดังกล่าวเสียไป จึง มีกรดไหลย้อนขึ้นไปในคอหอย, กล่องเสียง และปอดได้
อาการของผู้ป่วย นั้นขึ้นอยู่กับอวัยวะที่ถูกระคายเคืองโดยกรด เช่น
1. อาการทางคอหอยและหลอดอาหาร
* อาการปวดแสบร้อน บริเวณหน้าอก และลิ้นปี่ บางครั้งอาจร้าวไปที่บริเวณคอได้ * รู้สึกคล้ายมี ก้อนอยู่ในคอ * กลืนลำบาก หรือกลืนเจ็บ * เจ็บคอ หรือแสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเช้า * รู้สึกเหมือนมีรส ขมของน้ำดี หรือรสเปรี้ยวของกรดในคอหรือปาก * มีเสมหะอยู่ในลำ คอ หรือระคายคอตลอดเวลา * เรอบ่อย คลื่นไส้ * รู้สึกจุก แน่นอยู่ในหน้าอก คล้ายอาหารไม่ย่อย
2. อาการทางกล่องเสียง และปอด
* เสียงแหบเรื้อรัง หรือ แหบเฉพาะตอนเช้า หรือมีเสียงผิดปกติไปจากเดิม * ไอเรื้อรัง * ไอ หรือ รู้สึกสำลักในเวลากลางคืน * กระแอมไอบ่อย * อาการหอบหืดที่ เคยเป็นอยู่ (ถ้ามี) แย่ลง * เจ็บหน้าอก * เป็นโรคปอดอักเสบ เป็นๆ หายๆ
การรักษา
1. การปรับเปลี่ยนนิสัย และการดำเนินชีวิตประจำวัน การรักษาวิธีนี้มีความสำคัญ มากในการทำให้ผู้ป่วยมีอาการน้อยลง ป้องกันไม่ให้เกิดอาการ และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย โดยลดปริมาณกรดในกระเพาะ อาหาร และป้องกันไม่ให้กรดไหลย้อน กลับขึ้นไปในระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ ส่วนบนมากขึ้น การรักษาโดยวิธีนี้ควรปฏิบัติไปตลอดชีวิต แม้ว่าผู้ป่วยจะมีอาการดี ขึ้นแล้วก็ตาม หรือแม้ว่าผู้ป่วยจะหายดี แล้วโดยไม่ต้องกินยาแล้วก็ตาม ผู้ป่วยควรปฏิบัติตนดังนี้
* นิสัยส่วนตัว
- ถ้าเป็นไปได้ ควรพยายามลดน้ำหนัก ถ้าน้ำหนักเกิน เนื่องจากภาวะน้ำหนักเกินจะ ทำให้ความดันในช่องท้องมากขึ้น ทำให้กรดไหลย้อนได้มากขึ้น
- พยายามหลีกเลี่ยงอย่าให้ เครียด และถ้าสูบบุหรี่อยู่ ควรเลิก เพราะความเครียดและการสูบ บุหรี่ทำให้เกิดการหลั่งกรดมากขึ้น ถ้าไม่เคยสูบบุหรี่ ควรหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ หรือควันบุหรี่
- หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้าที่ คับเกินไป โดยเฉพาะบริเวณรอบเอว
* นิสัยในการรับ ประทานอาหาร
- หลังจากรับประทานอาหารทันที พยายามหลีกเลี่ยงการนอนราบ, การ ออกกำลัง, การยกของหนัก, การ เอี้ยวหรือก้มตัว
- หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร มื้อดึกและไม่ควรรับประทานอาหารใดๆ อย่างน้อยภายในระยะเวลา 3 ชั่วโมง ก่อนนอน
- พยายามรับประทานอาหารที่มี ไขมันต่ำ และพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่ ปรุงด้วยการทอด, อาหารมัน, พืช ผักบางชนิด เช่น หัวหอม, กระเทียม, มะเขือ เทศ, ฟาสท์ฟูด, ช็อกโกแลต, ถั่ว, ลูก อม, peppermints, เนย, ไข่, นม หรืออาหารที่มีรสจัด เช่น เผ็ดจัด เปรี้ยวจัด เค็มจัด หวานจัด - รับประทานอาหารปริมาณพอดีในแต่ละมื้อ ไม่ควรรับประทานอาหารมากเกิน ไป ควรรับประทานอาหารปริมาณทีละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
- หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มบาง ประเภท เช่น กาแฟ(แม้ว่าเป็นกาแฟที่ไม่มีคาเฟ อีนก็ไม่ควรดื่ม) ชา น้ำอัดลม เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ วิสกี้ ไวน์ โดยเฉพาะในตอนเย็น
* นิสัยในการนอน
- ถ้าจะนอนหลังรับประทานอาหาร ควรรอประมาณ 3 ชั่วโมง
- เวลานอน ควรหนุนหัวเตียงให้สูงขึ้น ประมาณ 6-10 นิ้วจากพื้นราบ โดยใช้วัสดุรองขาเตียง เช่น ไม้ อิฐ อย่ายกศีรษะให้สูงขึ้นโดยการ ใช้หมอนรองศีรษะ เพราะจะทำให้ความดันในช่อง ท้องเพิ่มมากขึ้น
2. รับประทานยา เพื่อลดปริมาณกรดในกระเพาะ อาหาร และ/หรือ เพิ่มการเคลื่อนตัวของระบบ ทางเดินอาหารในการกำจัดกรด ปัจจุบันยาลดกรดกลุ่มproton pump inhibitor เป็นยาที่สามารถยับยั้งการ หลั่งกรดได้ดี สามารถเห็นผลการรักษาเร็ว ควรรับประทานยาสม่ำเสมอตามแพทย์สั่ง ไม่ควรลดขนาดยา หรือ หยุดยาเอง และควรมาพบแพทย์ตามแพทย์นัด อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ผู้ป่วยบางรายอาจใช้เวลานาน ประมาณ 1-3 เดือน กว่าที่อาการต่างๆ จะดีขึ้น ดังนั้นอาการต่างๆ อาจไม่ดีขึ้นเร็ว ต้องใช้เวลาในการหาย เมื่ออาการต่างๆ ดีขึ้น และผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนนิสัย และการดำเนินชีวิตประจำวันในข้อ1 ได้ และได้รับประทานยาต่อเนื่องกันอย่างน้อย 2-3 เดือน แล้ว แพทย์จะปรับลดขนาดยาลง เรื่อยๆ ทีละน้อย ไม่ควรซื้อยารับประทานเองเวลาป่วย เนื่องจากยาบางชนิดจะทำให้ กระเพาะอาหารมีการหลั่งกรดเพิ่มขึ้น หรือกล้ามเนื้อหูรูดของหลอด อาหารส่วนล่างคลายตัวมากขึ้น จึงควรหลีกเลี่ยงยาบางชนิด ถ้าเป็นไปได้ เช่น progesterone, theophyllin, anticholinergics, beta-blockers, alpha-blockers, calcium channel blockers, aspirin, NSAID, vitamin C, benzodiazepines พบว่าประมาณร้อยละ90 ของ ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคกรดไหลย้อน สามารถควบคุมอาการได้ด้วยยา
3. การผ่าตัด เพื่อ ป้องกันไม่ให้กรดในกระเพาะ อาหารไหลย้อนกลับขึ้นไปในระบบทางเดินหายใจ และระบบทางเดินอาหารส่วนบน การรักษาวิธีนี้จะทำในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง ซึ่งให้การรักษาโดยการใช้ยา อย่างเต็มที่แล้วไม่ดีขึ้น หรือไม่สามารถรับประทานยาที่ ใช้ในการรักษาภาวะนี้ได้ หรือผู้ป่วยที่ดีขึ้นหลังจาก การใช้ยาแต่ไม่ต้องการที่จะกินยาต่อ ซึ่งผู้ป่วยที่ต้องทำการผ่า ตัดมีเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น การรักษาโดยการผ่าตัดมีหลาย วิธี เช่น endoscopic fundoplication, radiofrequency therapy, injection / implantation therapy
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ถ้าไม่ทนเหนื่อย ทนลำบากมาด้วยกัน ก็ไม่รู้หรอกว่าแต่ละคนให้ใจกันแค่ไหน ใช่มั้ย พิเรณทีม
|
|
|
soda
บุคคลทั่วไป
|
|
« ตอบ #6232 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 16:57:55 » |
|
หนุกหนานมากมาย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Xtra[z]y
|
|
« ตอบ #6233 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 18:25:32 » |
|
คนปลอดภัยแล้วคับ
กลับมาบ้านได้ยังอ่ะพี่?
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
aragon < RZ >
|
|
« ตอบ #6234 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 18:26:07 » |
|
โรคกรดไหลย้อน(Gastroesophageal Reflux Disease: GERD)
คัดลอกจาก บทความ ของ ผศ. นพ. ปารยะ อาศนะเสน ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทย ศาสตร์ศิริราชพยาบาล
โรค กรดไหลย้อน (Gastroesophageal Reflux Disease: GERD) หมายถึงโรคที่มีอาการซึ่งเกิดจากการ ไหลย้อนกลับของกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะ อาหารขึ้นไปในหลอด อาหารส่วนบนอย่างผิดปกติ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ ในเวลากลางวัน หรือกลางคืน หรือแม้แต่ผู้ป่วยไม่ ได้รับประทานอาหารก็ตาม ทำให้เกิดอาการจากการ ระคายเคืองของกรด เช่น อาจทำให้เกิดหลอดอาหาร อักเสบและมีแผล หรือ หลอดอาหารอักเสบโดยไม่เกิดแผล หรือถ้ากรดไหลย้อนขึ้น มาเหนือกล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารส่วนบน อาจทำให้เกิดอาการนอก หลอดอาหาร (atypical or extraesophageal GERD) เช่น อาการทางปอด หรือ อาการทางคอและกล่องเสียง (laryngopharyngeal reflux : LPR)
โดย ปกติร่าง กายจะมีกลไกป้องกัน ไม่ให้เกิดภาวะไหลย้อนกลับของกรดในกระเพาะ อาหารขึ้นไป ใน ระบบทางเดินอาหารส่วนบน เช่น การบีบตัวของหลอดอาหาร การทำงานของกล้ามเนื้อ หูรูดของหลอดอาหารส่วนบน และส่วนล่าง เยื่อบุของหลอดอาหารมี กลไกป้องกันการทำลายจากกรด การที่เกิดโรคกรดไหลย้อน นั้นเชื่อว่าเกิดจากกล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหาร ส่วนล่าง มีการคลายตัวอย่างผิดปกติ ทำให้มีการไหลย้อนกลับ ของกรดขึ้นไปในหลอดอาหารได้ง่าย โดยปกติถ้ากรดไหลย้อน ขึ้นไปในคอหอยจะกระตุ้นให้กล้ามเนื้อหูรูดของหลอด อาหาร ส่วน บนหดตัว ป้องกันไม่ให้กรดไหลย้อนขึ้นไป ผู้ป่วยที่เป็น โรค กรดไหลย้อนนั้นเชื่อว่ามีการทำงานของระบบป้องกัน ดังกล่าวเสียไป จึง มีกรดไหลย้อนขึ้นไปในคอหอย, กล่องเสียง และปอดได้
อาการของผู้ป่วย นั้นขึ้นอยู่กับอวัยวะที่ถูกระคายเคืองโดยกรด เช่น
1. อาการทางคอหอยและหลอดอาหาร
* อาการปวดแสบร้อน บริเวณหน้าอก และลิ้นปี่ บางครั้งอาจร้าวไปที่บริเวณคอได้ * รู้สึกคล้ายมี ก้อนอยู่ในคอ * กลืนลำบาก หรือกลืนเจ็บ * เจ็บคอ หรือแสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเช้า * รู้สึกเหมือนมีรส ขมของน้ำดี หรือรสเปรี้ยวของกรดในคอหรือปาก * มีเสมหะอยู่ในลำ คอ หรือระคายคอตลอดเวลา * เรอบ่อย คลื่นไส้ * รู้สึกจุก แน่นอยู่ในหน้าอก คล้ายอาหารไม่ย่อย
2. อาการทางกล่องเสียง และปอด
* เสียงแหบเรื้อรัง หรือ แหบเฉพาะตอนเช้า หรือมีเสียงผิดปกติไปจากเดิม * ไอเรื้อรัง * ไอ หรือ รู้สึกสำลักในเวลากลางคืน * กระแอมไอบ่อย * อาการหอบหืดที่ เคยเป็นอยู่ (ถ้ามี) แย่ลง * เจ็บหน้าอก * เป็นโรคปอดอักเสบ เป็นๆ หายๆ
การรักษา
1. การปรับเปลี่ยนนิสัย และการดำเนินชีวิตประจำวัน การรักษาวิธีนี้มีความสำคัญ มากในการทำให้ผู้ป่วยมีอาการน้อยลง ป้องกันไม่ให้เกิดอาการ และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย โดยลดปริมาณกรดในกระเพาะ อาหาร และป้องกันไม่ให้กรดไหลย้อน กลับขึ้นไปในระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ ส่วนบนมากขึ้น การรักษาโดยวิธีนี้ควรปฏิบัติไปตลอดชีวิต แม้ว่าผู้ป่วยจะมีอาการดี ขึ้นแล้วก็ตาม หรือแม้ว่าผู้ป่วยจะหายดี แล้วโดยไม่ต้องกินยาแล้วก็ตาม ผู้ป่วยควรปฏิบัติตนดังนี้
* นิสัยส่วนตัว
- ถ้าเป็นไปได้ ควรพยายามลดน้ำหนัก ถ้าน้ำหนักเกิน เนื่องจากภาวะน้ำหนักเกินจะ ทำให้ความดันในช่องท้องมากขึ้น ทำให้กรดไหลย้อนได้มากขึ้น
- พยายามหลีกเลี่ยงอย่าให้ เครียด และถ้าสูบบุหรี่อยู่ ควรเลิก เพราะความเครียดและการสูบ บุหรี่ทำให้เกิดการหลั่งกรดมากขึ้น ถ้าไม่เคยสูบบุหรี่ ควรหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ หรือควันบุหรี่
- หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้าที่ คับเกินไป โดยเฉพาะบริเวณรอบเอว
* นิสัยในการรับ ประทานอาหาร
- หลังจากรับประทานอาหารทันที พยายามหลีกเลี่ยงการนอนราบ, การ ออกกำลัง, การยกของหนัก, การ เอี้ยวหรือก้มตัว
- หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร มื้อดึกและไม่ควรรับประทานอาหารใดๆ อย่างน้อยภายในระยะเวลา 3 ชั่วโมง ก่อนนอน
- พยายามรับประทานอาหารที่มี ไขมันต่ำ และพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่ ปรุงด้วยการทอด, อาหารมัน, พืช ผักบางชนิด เช่น หัวหอม, กระเทียม, มะเขือ เทศ, ฟาสท์ฟูด, ช็อกโกแลต, ถั่ว, ลูก อม, peppermints, เนย, ไข่, นม หรืออาหารที่มีรสจัด เช่น เผ็ดจัด เปรี้ยวจัด เค็มจัด หวานจัด - รับประทานอาหารปริมาณพอดีในแต่ละมื้อ ไม่ควรรับประทานอาหารมากเกิน ไป ควรรับประทานอาหารปริมาณทีละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
- หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มบาง ประเภท เช่น กาแฟ(แม้ว่าเป็นกาแฟที่ไม่มีคาเฟ อีนก็ไม่ควรดื่ม) ชา น้ำอัดลม เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ วิสกี้ ไวน์ โดยเฉพาะในตอนเย็น
* นิสัยในการนอน
- ถ้าจะนอนหลังรับประทานอาหาร ควรรอประมาณ 3 ชั่วโมง
- เวลานอน ควรหนุนหัวเตียงให้สูงขึ้น ประมาณ 6-10 นิ้วจากพื้นราบ โดยใช้วัสดุรองขาเตียง เช่น ไม้ อิฐ อย่ายกศีรษะให้สูงขึ้นโดยการ ใช้หมอนรองศีรษะ เพราะจะทำให้ความดันในช่อง ท้องเพิ่มมากขึ้น
2. รับประทานยา เพื่อลดปริมาณกรดในกระเพาะ อาหาร และ/หรือ เพิ่มการเคลื่อนตัวของระบบ ทางเดินอาหารในการกำจัดกรด ปัจจุบันยาลดกรดกลุ่มproton pump inhibitor เป็นยาที่สามารถยับยั้งการ หลั่งกรดได้ดี สามารถเห็นผลการรักษาเร็ว ควรรับประทานยาสม่ำเสมอตามแพทย์สั่ง ไม่ควรลดขนาดยา หรือ หยุดยาเอง และควรมาพบแพทย์ตามแพทย์นัด อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ผู้ป่วยบางรายอาจใช้เวลานาน ประมาณ 1-3 เดือน กว่าที่อาการต่างๆ จะดีขึ้น ดังนั้นอาการต่างๆ อาจไม่ดีขึ้นเร็ว ต้องใช้เวลาในการหาย เมื่ออาการต่างๆ ดีขึ้น และผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนนิสัย และการดำเนินชีวิตประจำวันในข้อ1 ได้ และได้รับประทานยาต่อเนื่องกันอย่างน้อย 2-3 เดือน แล้ว แพทย์จะปรับลดขนาดยาลง เรื่อยๆ ทีละน้อย ไม่ควรซื้อยารับประทานเองเวลาป่วย เนื่องจากยาบางชนิดจะทำให้ กระเพาะอาหารมีการหลั่งกรดเพิ่มขึ้น หรือกล้ามเนื้อหูรูดของหลอด อาหารส่วนล่างคลายตัวมากขึ้น จึงควรหลีกเลี่ยงยาบางชนิด ถ้าเป็นไปได้ เช่น progesterone, theophyllin, anticholinergics, beta-blockers, alpha-blockers, calcium channel blockers, aspirin, NSAID, vitamin C, benzodiazepines พบว่าประมาณร้อยละ90 ของ ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคกรดไหลย้อน สามารถควบคุมอาการได้ด้วยยา
3. การผ่าตัด เพื่อ ป้องกันไม่ให้กรดในกระเพาะ อาหารไหลย้อนกลับขึ้นไปในระบบทางเดินหายใจ และระบบทางเดินอาหารส่วนบน การรักษาวิธีนี้จะทำในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง ซึ่งให้การรักษาโดยการใช้ยา อย่างเต็มที่แล้วไม่ดีขึ้น หรือไม่สามารถรับประทานยาที่ ใช้ในการรักษาภาวะนี้ได้ หรือผู้ป่วยที่ดีขึ้นหลังจาก การใช้ยาแต่ไม่ต้องการที่จะกินยาต่อ ซึ่งผู้ป่วยที่ต้องทำการผ่า ตัดมีเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น การรักษาโดยการผ่าตัดมีหลาย วิธี เช่น endoscopic fundoplication, radiofrequency therapy, injection / implantation therapy
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
aragon < RZ >
|
|
« ตอบ #6235 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 18:26:29 » |
|
คนปลอดภัยแล้วคับ
กลับมาบ้านได้ยังอ่ะพี่? พึ่งมาถึงอะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Xtra[z]y
|
|
« ตอบ #6236 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 18:28:27 » |
|
คนปลอดภัยแล้วคับ
กลับมาบ้านได้ยังอ่ะพี่? พึ่งมาถึงอะ กลับบ้านได้ก็ค่อยอุ่นใจหน่อย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
aragon < RZ >
|
|
« ตอบ #6237 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 18:38:20 » |
|
อืม
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
PyoungJ
|
|
« ตอบ #6238 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 18:42:59 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
aragon < RZ >
|
|
« ตอบ #6239 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2011 19:09:38 » |
|
พุดไม่เพราะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|