~POOMZA~
|
|
« ตอบ #152 เมื่อ: 10 พฤศจิกายน 2010 09:09:41 » |
|
นครศรีธรรมราช ๕ เชิงอรรถ
๑ ดู ธิดา สาระยา, พัฒนาการของรัฐบาลบนคาบสมุทรไทย เน้นตามพรลิงค์ (คริสตศตวรรษที่ ๖-๑๓, ในประวัติศาสตร์และโบราณคดีนครศรีธรรมราช ชุดที่ ๓ (นครศรีธรรมราช : วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช, ๒๕๒๖), หน้า ๙๔-๑๑๘. ดู ปรีชา นุ่นสุข, การศึกษาเกี่ยวกับชื่อสถานที่สำคัญบนคาบสมุทรไทย : ตะกั่วป่า ไชยา และนครศรีธรรมราช, ใน ประวัติศาสตร์และโบราณคดีนครศรีธรรมราช ชุดที่ ๓ (นครศรีธรรมราช : วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช , ๒๕๒๖), หน้า ๑๔๘-๑๔๙. ๒ พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ เล่มที่ ๒๙ หน้า ๑๘๘-๑๘๙. ๓ ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ ๒ (พระนคร : หอพระสมุดสำหรับพระนคร, ๒๔๗๒), หน้า ๑๒. ๔ มานิต วัลลิโภดม, สภาพของอาณาจักรต่าง ๆ ในภาคใต้ของประเทศไทยก่อนศรีวิชัยมีอำนาจ, ในรายงานการสัมมนาประวัติศาสตร์และโบราณคดีศรีวิชัย (กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕), หน้า ๖๘. ๕ สุวัณณภูมิ หรือสุวรรณภูมิ (แปลว่า ดินแดนทอง - Golden Land) คงจะหมายถึงดินแดนแหลมอินโดจีนทั้งหมด คือ บริเวณพม่า ไทย กัมพูชา และแหลมมลายู ตรงตามที่ Childers, Pali Dictionary กล่าวไว้ มิได้หมายถึงเฉพาะพม่าตอนล่าง (Lower Burma) หรือพม่าตอนใต้เท่านั้น หากแต่ตลอดตามแนวชายฝั่งตั้งแต่ย่างกุ้ง (ร่างกุ้ง) ลงไปถึงสิงคโปร์. ๖ มิลินทปัญหา ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย หน้า ๔๖๔. ๗ Paul Wheatley, The Golden Khersonese. (Kuala Lumper : University of Malaya Press, ๑๙๖๖), p. ๑๘๓. ๘ Senarat Paranavitana, Ceylon and Malaysia. (Colombo : Lake House Investments Limited Publishers, ๑๙๖๖), p. ๙๙. ๙ Paul Wheatley, op. Cit., pp ๖๖-๖๗, ๗๗. ๑๐ ดู Nihar Ranjore Ray, Sanskrit Buddhism in Burma. (Amsterdam, ๑๙๘๖), PP. ๗๘-๗๙. ดู Paul Wheatly, op. cit., pp.๑๙๙-๒๐๐. ๑๑ ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ ๒ จารึกทวาราวดี ศรีวิชัย ละโว้ พิมพ์ครั้งที่ ๒ แก้ไขใหม่ (กรุงเทพ ฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๐๔), หน้า ๓๐-๓๑ และรูปที่ ๑๐. ๑๒ ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์, ตามพรลิงค์ วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๓), หน้า ๙๓. ๑๓ ธรรมทาส พานิช, กรุงตามพรลิงค์ที่เมืองนครศรีธรรมราช, พุทธศาสนาปีที่ ๔๙ เล่มที่ ๑-๒ (กุมภาพันธ์-พฤษภาคม, ๒๕๒๔), หน้า ๓. ๑๔ ดู สาส์นสมเด็จ ฉบับวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๘, ฉบับปลายเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๘ และต้นเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๘. ๑๕ ไมตรี ไรพระศก, ปฏิกิริยาศิลปวัฒนธรรม, ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๔ (๒๕๒๓), หน้า ๖๗-๖๘ ๑๖ Stanley J. O, Connor, Si Chon : An Early Settlement in Penninsular Thailand, Journal of the Siam Society, Vol. LVJ, Pt. I (January, ๑๙๘๖), p. ๔., and Tambralinga and the Khmer Empire, Journal of the Siam Society, Vol. ๖๓ pt. I (January, ๑๙๗๕), pp. ๑๖๑-๑๗๕ ๑๗ Senarat paranavitana, op. cit., pp. ๗๘-๗๙ ๑๘ Ibid. ๑๙ Culavamsa, Culavamsa, being the more recent part of the Mahavamsa, Part I, translated by W. Geiger, Pali Texi Society, Translation Series, No. ๑๘, London, ๑๙๒๙. ๒๐ คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี, ประชุมศิลา จารึก ภาคที่ ๓ (พระนคร : โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี, ๒๕๐๘), หน้า ๑๒-๑๘. ๒๑ ธิดา สาระยา, เรื่องเดิม, หน้า ๑๐๙. ๒๒ P.E.E. Fernando, An Account of the Kandyan Mission Sent to Siam in ๑๗๕๐, The Ceylon Journal of Historical and Social Studies, Vol. ๒, No. ๑ (January, ๑๙๕๙), pp. ๖๗-๘๒. ๒๓ คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ ๑ (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ๒๕๒๑), หน้า ๑๕-๓๒. ๒๔ พระรัตนปัญญา, ชินกาลมาลีปกรณ์ (พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๑๗), หน้า ๑๐๙. ๒๕ พระโพธิรังสี, สิหิงคนิทาน (พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๐๖), หน้า ๔๑. ๒๖ Colone Sir Henry Jule, (translated and edited), The Book of Ser Marco Polo : The Venetian Concerning the Kingdoms and Marvels of the East (London : John Murray, ๑๙๐๓), p. ๒๗๖. ๒๗ ไมเคิล ไรท์ ได้ตั้งข้อสังเกตว่าชาวสิงหลฟังคำที่มี ง สะกดเป็น น สะกดเสมอ ดังนั้นคำว่า เมือง (Muang) จึงจดเป็น มุอัน (Muan) ๒๘ P.E.E. Fernando op. cit., pp. ๖๗-๖๘. ๒๙ ประเสริฐ ณ นคร, จารึกที่พบในนครศรีธรรมราช ใน รายงานการสัมมนาประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช (นครศรีธรรมราช : วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช, ๒๕๒๑), หน้า ๔๕๒. ๓๐ ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์, เรื่องเดิม, หน้า ๙๕-๙๖. ๓๑ Joaquim de Campos, Early Portuguese Accounts of Thailand, Journal of the Siam Society, Selected Articles from the Siam Society Journal, Vol. VII, Relationship with Portugal, Holland, and the Vatican, (Bangkok, ๑๙๕๙), p. ๒๒๕. ๓๒ Jeremias Van Vliet, The Short History of the King of Siam, translated by Leonard Andaya, (Bangkok : The Siam Society, ๑๙๗๕), p. ๑๖. ๓๓ John Crawfurd, Journal of an Embassy to the Courts of Siam and Cochin China, (Kuala Lumpur : Oxford University Press, ๑๙๖๗), p. ๔๔๓. ๓๔ ดู F.D.K. Bosch, " De inscriptie van Ligor," TBG., LXXXI, ๑๙๔๑, pp. ๒๖-๓๘. ดู Boechari, 'On the Date of the Inscripion of Ligor B," SPAFA (SEAMEO Project in Archaeology and Fine Arts) Final Report Consultative Workshop on Archaeological and Environmental Studies on Srivijaya (I-W2A), Indonesia, August 31-September 12, 1982. (Jakarta : Southeast Asian Ministers of Education Organization, 1982), Appendix 4a. ๓๕ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และศิลปวัฒนธรรมแสดงให้เห็นว่า บริเวณของ "ลิกอร์" คงจะกว้างใหญ่มาก คือ อย่างน้อยก็กินบริเวณตั้งแต่เขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ถึงเขตตำบลท่าเรือ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิชาการบางท่านจึงเรียกบริเวณนี้ว่า "Ligor area" ดู ธิดา สารยะ, เรื่องเดิม หน้า ๑๑๐., นอกจากนี้นักวิชาการบางท่านยังพบว่า จากการตรวจสอบแผนที่ที่เขียนในสมัยโบราณเห็นได้ชัดเจนว่าบริเวณสทิงพระยังมิได้มีลักษณะเป็นแหลมอย่างที่ปรากฏในปัจจุบันนี้หากแต่พื้นดินแถบสทิงพระยังคงเป็นเกาะ ในคริสศตวรรษที่ ๑๗ เรียกบริเวณนั้นว่า "Coete Inficos" ครั้นต้นคริสตศตวรรษที่ ๑๘ มีชื่อว่า "Ile Papier" หรือ "de Ligor" ดู Guy Trebuil, สมยศ ทุ่งหว้า และอิงอร เทรบุยล์, "ความเป็นมาและแนวโน้มวิวัฒนาการของเกษตรกรรมการบริเวณสทิงพระ," เอกสารประกอบการอภิปรายในการสัมมนา เรื่อง ประวัติศาสตร์และโบราณคดีบริเวณคาบสมุทรสทิงพระ จัดโดย สถาบันทักษิณคดีศึกษาร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ วันที่ ๘-๑๑ สิงหาคม ๒๕๒๖ ณ สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา, หน้า๔. ๓๖ ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์, เรื่องเดิม, หน้า ๙๗. ๓๗ ตรี อมาตยกุล, รวมเรื่องเมืองนครศรีธรรมราช (พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๐๕), หน้า ๑๑. ๓๘ วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช, แผนงานหลัก โครงการสัมมนาทางวิชาการประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช พุทธ-ศักราช ๒๕๒๑-๒๕๓๐ ใน ประวัติศาสตร์และโบราณคดีนครศรีธรรมราช ชุดที่ ๓ (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงสยามการพิมพ์, ๒๕๒๖), หน้า ๒๓๙-๒๔๙. ๓๙ ดู วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช, ประวัติศาสตร์และโบราณคดีนครศรีธรรมราช ชุดที่ ๑ (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงสยามการพิมพ์, ๒๕๒๑) ดู วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช, รายงานการสัมมนาประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงสยามการพิมพ์, ๒๕๒๑) ดู วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช, ประวัติศาสตร์และโบราณคดีนครศรีธรรมราช ชุดที่ ๒ (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงสยามการพิมพ์, ๒๕๒๕) ดู วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช, รายงานการสัมมนาประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช ครั้งที่ ๒ : ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมของนครศรีธรรมราช (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงสยามการพิมพ์, ๒๕๒๖) ดู วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช, ประวัติศาสตร์และโบราณคดีนครศรีธรรมราช ชุดที่ ๓ (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงสยามการพิมพ์, ๒๕๒๖) ๔๐ ธราพงศ์ ศรีสุชาติ และอมรา ขันติสิทธิ์, แนวความคิดและข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับก่อนประวัติศาสตร์ภาคใต้, ๒๕๒๔, (เอกสารอัดสำเนา), หน้า ๒. ๔๑ ธราพงศ์ ศรีสุชาติ และอมรา ขันติสิทธิ์, เรื่องเดิม, หน้า ๒-๕. ๔๒ พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ เล่มที่ ๒๙ หน้า ๑๘๘. ๔๓ ซิลแวง เลวี กล่าว คัมภีร์มิลินทปัญหารวบรวมขึ้นระยะเดียวกันกับคัมภีร์มหานิทเทศ คือ ราวพุทธศตวรรษที่ ๗-๘ และศาสตราจารย์นิลกันตะ ศาสตรี (Nilakanta Sastri) กล่าวว่า คัมภีร์มิลินทปัญหาแต่งเมื่อราว ค.ศ. ๔๐๐ ดู Sylvain Levy Ptoteme le Niddesa et la Brhatkatha, Etudes Asiatiques II, ๑๙๕๒. และศาสตราจารย์ปรนะวิธาน (Paranavitana) มีความเห็นว่า คำว่า Tamali บวกกับ gam หรือ gamu ซึ่งสันสกฤตใช้ว่า grama จึงอาจจะเป็น Tamlingam หรือ Tamalingamu ในภาษาสิงหล และคำนี้เมื่อแปลเป็นภาษาบาลีก็เป็น Tambalin. Ga และเป็น Tambralin. Ga ในภาษาสันสกฤต ดู Senarat Paranavitana, Ceylon and Malaysia (Columbo : Lake House Investments Limited Publishers, 1966), p. 99. ๔๔ Paul Wheatley, The Golden Khersonese (Kuala Lumpur : University of Malaya Press, 1961), pp. 66, 76-77 183, 201-202. ๔๕ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย พิมพ์ครั้งที่ ๖ (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อมรินทร์ การพิมพ์, 2522), หน้า ๑๓. ๔๖ พิริยะ ไกรฤกษ์, ศิลปะทักษิณก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙ (กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร. ๒๕๓๒), หน้า ๒๕. ๔๗ พื้นที่ส่วนใหญ่ของชุมชนโบราณสิชล อยู่ในเขตอำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช อำเภอนี้ตั้งอยู่ในเขตที่ราบชายฝั่งทะเลตะวันออกของภาคใต้ (ชายฝั่งอ่าวไทย) สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบชายทะเล ลักษณะดินเป็นดินร่วนปนทราย มีแม่น้ำสายสำคัญอันเป็นที่ตั้งของแหล่งโบราณคดีหลายสาย เช่น คลองท่าเชี่ยว คลองเทพ-ราช คลองท่าเรือรี คลองท่าควาย และคลองท่าทน เป็นต้น คลองเหล่านี้ล้วนไหลลงสู่อ่าวไทยทั้งสิ้นและบางสายตื้นเขินไปมากแล้ว ชื่อ สิชล นั้นน่าจะตรงกับที่ปรากฏใน ตำนานเมืองนครศรีธรรมราช ว่า ตระชน และ ศรีชน ขณะนี้ชาวบ้านที่มีอายุเรียกกันโดยทั่วไปว่า สุชล ๔๘ ดู สุจิตต์ วงษ์เทศ, โบราณคดีพเนจร, ชาวกรุง ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒ (พฤศจิกายน ๒๕๐๙), หน้า ๗๘๙๐. ดู Stanley J. O Connor, Si Chon : An Early Settlement in Peninsular Thailand , Journal of the Siam Society, LVI, pt, I. (January ๑๙๖๘) pp. ๑๑๘. ดู ศรีศักร วัลลิโภดม, จากท่าชนะถึงสงขลา, เมืองโบราณ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (มกราคม-มีนาคม ๒๕๑๙), หน้า ๖๕๗๗. ดู ศรีศักร วัลลิโภดม, ชุมชนโบราณในภาคใต้ ใน รายงานการสัมมนาประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช (นครศรีธรรมราช, วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช ๒๕๒๑), หน้า ๒๒๘๐. ดู ปรีชา นุ่นสุข, สิชล : ชุมชนโบราณของพราหมณ์บนคาบสมุทรมลายู, ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔ (กุมภาพันธ์ ๒๕๒๖), หน้า ๑๔๒๔. ดู Preecha Noonsuk, Si Chon : An Ancient Brahmanical Settement on the Malay Peninsular, SPAFA (SEAMEO Project in Arehaeology and Fine Arts) Final Report Consultative Workshop on Arehaeological and Environmental Studies on Srivijaya (T-W๓), Bangkok and South Thailand, March ๒๙April ๑๑, ๑๙๘๓, (Bangkok : Southeast Asian Ministers of Education Oganization, ๑๙๘๓), pp. ๑๔๕๑๕๑. ดู ปรีชา นุ่นสุข, สิชล : อู่อารยธรรมอิทธิพลศาสนาพราหมณ์, เมืองโบราณ ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มีนาคม ๒๕๒๗), หน้า ๓๓๔๑. ๔๙ Paul Wheatley, op. cit., pp. ๑๖๑๗. ๕๐ ปรีชา นุ่นสุข, หลักฐานทางโบราณคดีในภาคใต้ของประเทศไทยที่เกี่ยวกับอาณาจักรศรีวิชัย (นครศรีธรรมราช : ศูนย์วัฒนธรรมภาคใต้ วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช ๒๕๒๕), หน้า ๕๗๕. ๕๑ ดูรายละเอียดใน ธิดา สาระยา, พัฒนาการของรัฐบนคาบสมุทรไทย เน้นตามพรลิงค์ (คริสตศวรรษที่ ๖๑๓), ใน ประวัติศาสตร์และโบราณคดีนครศรีธรรมราช ชุดที่ ๓ (นครศรีธรรมราช : วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช ๒๕๒๖), หน้า ๙๔๑๑๘. และปรีชา นุ่นสุข การศึกษาเกี่ยวกับชื่อสถานที่สำคัญบนคาบสมุทรไทย : ตะกั่วป่า ไชยา และนครศรีธรรมราช, ใน ประวัติศาสตร์และโบราณคดีนครศรีธรรมราช ชุดที่ ๓ หน้า ๑๑๙๑๖๕. ๕๒ สุวิทย์ ทองศรีเกตุ, การศึกษาวิเคระห์อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ที่มีต่อพฤติกรรมทางศาสนาของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช, วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต สาขาศาสนาเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๒๔, (อัดสำเนา) หน้า ๘ ๕๓ Stanley J. O Connor, Hindu Gods of Peninsular Siam. (Ascona : Artibus Asiae Publishers, ๑๙๗๒), pp. ๑๑๑๗. ๕๔ Stanley J. Connor, Si Chon : An Early Settlement in Peninsular Journal of the Siam Society, Vol. LVI, pt. I (January, ๑๙๖๘), p. ๑๔. ๕๕ ปรีชา นุ่นสุข , สิชล : ชุมชนโบราณของพราหมณ์บนคาบสมุทรมลายู, ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ ๔ (กุมภาพันธ์ ๒๕๒๖), หน้า ๑๔๒๓. ๕๖ ปรีชา นุ่นสุข, สิชล : อู่อารยธรรมอิทธิพลศาสนาพราหมณ์, เมืองโบราณ ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มีนาคม ๒๕๒๗), หน้า ๔๐๔๑. ๕๗ ยอร์ช เซเดส์, เรื่องเดิม, หน้า ๒๑๔๐. ๕๘ ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร, คำบรรยายวิชาวิธีใช้เอกสารโบราณประกอบวิชาโบราณคดี. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร ภาคการศึกษาที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๒๓ โดย นายปรีชา นุ่นสุข เป็นผู้บันทึก. ๕๙ ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร และชะเอม แก้วคล้าย, ศิลาจารึกหุบเขาช่องคอย, ศิลปากร ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๔ (กันยายน ๒๕๒๓), หน้า, ๘๙๙๓. ๖๐ ดู ปรีชา นุ่นสุข, จารึกหุบเขาช่องคอย : หน้าใหม่ของประวัติศาสตร์ภาคใต้, ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๗ (พฤษภาคม ๒๕๒๓), หน้า ๔๘๕๙. ดู M.C. Chand Chirayu Rajani, Scientific Evidence in the Sri Vijaya Stoty, ๑๙๘๑, (Type-written), pp. ๑๒๑๕. ดู ปรีชา นุ่นสุข, หลักฐานทางโบราณคดีในภาคใต้ของประเทศไทยที่เกี่ยวกับอาณาจักรศรีวิชัย หน้า ๑๑๓๑๑๙ ดู ไมเคิล ไรท์, ศิลาจารึกหลักที่พบใหม่ (ช่องคอย) กับประวัติศาสตร์ศรีวิชัย, ศิลปวัฒนธรรม, ปี่ที่ ๓ ฉบับที่ ๙ (กรกฎาคม ๒๕๒๓), หน้า ๑๘๑๙.
|