AE. Racing Club
01 มกราคม 2025 14:30:17 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า:  «  1 [2] 3  »    ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ไปซื้อน้ำมันเครื่องที่ร้านประจำมา(ขอข้อโต้แย้งด้วย)  (อ่าน 7096 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 7 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
illusionx<NC.Z>
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 9,252


ปลวกคนเดิม


ดูรายละเอียด
« ตอบ #20 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 00:26:18 »

อ่านหนังสือ
ความเห็นส่วนตัวนะครับ น้ำมันเครื่องก็คือน้ำมันเครื่อง มีหน้าที่หล่อลื่นเหมือนกัน แต่การผสม กลั่น หรือวิธีการผลิตนั้น ผลิตเฉพาะเพื่อคุณสมบัติสำหรับเครื่องยนต์ต่างๆกัน
ดีเซลนั้นรอบต่ำ เบนซิลนั้นรอบสูง ถ้าใช้น้ำมันเครื่องที่ผลิตมาเพื่อเครื่องรอบต่ำมาใช้กับเครื่องรอบสูงมันจะมีปัญหาไหมครับ ถ้าน้ำมันมันมีคุณสมบุติระเหยที่ความร้อนสูง(จากรอบที่จัดมากๆ) มันจะแปลงร่างจากน้ำมันเป็นของเหลวชนิดอื่นที่ไม่มีคุณสมบัติหล่อลื่นรึเปล่า อันนี้ไม่รู้และไม่อยากลอง
ถ้ามันใช้แทนกันได้จริงๆ น้ำมันเครื่องสำหรับเครื่องเบนซิลคงจะเลิกผลิตไปแล้วเพราะซื้อของดีเซลมาใช้ถูกกว่าเยอะกว่า
ความเห็นส่วนตัวล้วนๆครับ  คำนับ
เรื่องลูกเหม็นหรือดินน้ำมันไม่ขอลองครับ

ผมก็เคยประสบด้วยตนเองครับ เรื่องของน้ำมันเครื่องระเหย กับเครื่องฝาดำผมนี่แหละครับ ขับปกติรอบไม่เกิน 3000 ไม่หายครับ แต่ ซัดหน่อย ซัก1-2กม หรือ วิ่งทางไกลรอบศูง ก้ หายเลยครับ
บันทึกการเข้า



https://www.facebook.com/stevesecondhandtire76.5shop
Steve 2nd tire racing & Termostat 76.5c
วาวน้ำอุณหภูมิต่ำ 76.5c / ยาง%ซิ่ง ขอบ17-20 / TE37ขอบ18 / ล้อยางป้ายแดงสั่ง
อิ๊กปากเกร็ด
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 9,231


เก็บไปเรื่อยๆ คนมันจน ให้ทำไงได้ ><!


ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #21 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 00:27:41 »

เออแฮะ.

ลุกเหม็นนี่ น่าลองๆๆ

หารถผู้โชคร้ายก่อน  ซูม ซูม ซูม ซูม
บันทึกการเข้า



มิตรภาพที่ไม่เคยลืมเลือน ใน aeracingclub
มีแต่คน .... เท่านั้น ที่สะกดคำว่า "เพื่อน" ไม่เป็น




ทุกวันนี้บ้านเค้าจะเป็นเชียงกงขึ้น ทุกวันๆ และ  งอแง
MR_C_ รักในหลวง
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10,620


ร่วมสร้างสรรค์ ร่วมแบ่งปัน น้ำใจ ใช้ไม่เคยหมด


ดูรายละเอียด
« ตอบ #22 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 00:28:20 »

เออแฮะ.

ลุกเหม็นนี่ น่าลองๆๆ

หารถผู้โชคร้ายก่อน  ซูม ซูม ซูม ซูม
เวฟคันที่บ้านน่ะ หยอดไปเลย 2 เม็ด
บันทึกการเข้า

[NoN@NympH]
นักแข่งมือสมัครเล่น
****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 268


เงียบ ๆ ไว้เหอะ........... !!!


ดูรายละเอียด
« ตอบ #23 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 00:44:04 »

ลูกเหม็น นี้ มันโครต กัด เลย น่ะคับ สุด ๆ ๆ อ่ะ สีพังหมด

แต่ผมก็ได้ยิน เหมือนกันว่า เติม ลูกเหม็น ก็เหมือนเติมค่า ออกเทน ในน้ำมันเชื้อเพลิง
บันทึกการเข้า

อะไร ไม่ว่า อย่าดี แต่พูด . . .




http://www.aeracingclub.net/forums/inde
chaiyasita
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,937


7A-FE AUTO / แจ้งวัฒนะ-นครนายก


ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #24 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 00:49:56 »

ลูกเหม็นใส่ถังน้ำมัน มันช่วยอะไรอ่ะครับ


สมัยเรียน จำได้ว่า ลูกเหม็น มีชื่อเคมีว่า แนฟทาลีน สูตรเคมี C10-H8 เป็นเบนซีน ring 2 วง ผมว่ามันจะเพิ่มออกเทนได้นะครับ แต่ไม่เคยลอง มันเป็นทฤษฎี ครับ แต่ใครจะลองก็ได้นะครับ ผลข้างเคียงผมไม่ทราบนะ
บันทึกการเข้า

สนใจบ้านสวย วิววัน พาราไดซ์:นครนายก  www.fb.com/paradise26000
สนใจที่ดินเปล่า วิวสวย บรรยากาศขุนเขา ใกล้เขาใหญ่:นครนายก  www.fb.com/teedintookth
สนใจนิพพาน : www.fb.com/buddhawajana.ny
smilegames
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6,978



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #25 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 01:13:35 »

ลูกเหม็นนี่ ผมคงใช้ไม่ได้ mio ผมเติม โซฮอล์ 91  เคยเติมโซฮอล์ 95 แล้ววิ่งไม่ได้เลย กระตุกแรงมากๆ สงสัยหัวใจผมไม่แรง

แต่เรื่องน้ำมันเครื่อง ถ้าเป็นเกรดรวมใช้กันได้จริงๆครับ

อันนี้ของ โตโยต้าเลย ใช้ได้ทั้ง เบนซิล ดีเซล



อันนี้ เบนซิล อย่างเดี่ยว


อันนี้ ดีเซล อย่างเดี่ยว
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 06 ตุลาคม 2011 01:17:32 โดย smilegames » บันทึกการเข้า

MR_C_ รักในหลวง
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10,620


ร่วมสร้างสรรค์ ร่วมแบ่งปัน น้ำใจ ใช้ไม่เคยหมด


ดูรายละเอียด
« ตอบ #26 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 01:15:08 »

ป๋องเท่าไหร่ล่ะครับพี่เอส
บันทึกการเข้า

chaiyasita
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,937


7A-FE AUTO / แจ้งวัฒนะ-นครนายก


ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #27 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 01:18:09 »

ลูกเหม็นนี่ ผมคงใช้ไม่ได้ mio ผมเติม โซฮอล์ 91  เคยเติมโซฮอล์ 95 แล้ววิ่งไม่ได้เลย กระตุกแรงมากๆ สงสัยหัวใจผมไม่แรง

แต่เรื่องน้ำมันเครื่อง ถ้าเป็นเกรดรวมใช้กันได้จริงๆครับ
อันนี้ของ โตโยต้าเลย



ของโตโยต้าเป็นเกรด SM/CF ครับ จึงใช้ได้ทั้ง ดีเซลกับเบนซิน แต่ผมไม่ได้ใจว่ายี่ห้ออื่น เป็น Dual grade แบบนี้หรือเปล่าอะครับ อืม..
บันทึกการเข้า

สนใจบ้านสวย วิววัน พาราไดซ์:นครนายก  www.fb.com/paradise26000
สนใจที่ดินเปล่า วิวสวย บรรยากาศขุนเขา ใกล้เขาใหญ่:นครนายก  www.fb.com/teedintookth
สนใจนิพพาน : www.fb.com/buddhawajana.ny
smilegames
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6,978



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #28 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 01:19:27 »

เห็นใจเวป วีออส อัลติส บอก 1000.- จากราคาศูนย์ 2000.-
http://www.yaristhailandclub.com/smf/index.php?topic=23911.0
บันทึกการเข้า

smilegames
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6,978



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #29 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 01:23:17 »

อันนี้ก็ได้เหมือนกัน ทั้งเบนซิล ดีเซล
บันทึกการเข้า

MR_C_ รักในหลวง
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10,620


ร่วมสร้างสรรค์ ร่วมแบ่งปัน น้ำใจ ใช้ไม่เคยหมด


ดูรายละเอียด
« ตอบ #30 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 01:24:40 »

ถ้าสังเคราะห์ 100% มันก็ไม่ใช่ใช้น้ำมันเครื่องดีเซลแทนน้ำมันเครื่องเบนซิลแล้วป่าวอ่ะครับ เพราะมันเท่ากับราคาน้ำมันเครื่องเบนซิลไปแล้วจะกลายเป้นว่าใช้น้ำมันเครื่องเบนซิลกับเครื่องดีเซลรึเปล่า
ราคาในเวปนั้นของทางตรงรึเปล่าก็ไม่รู้เนาะ
บันทึกการเข้า

MR_C_ รักในหลวง
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10,620


ร่วมสร้างสรรค์ ร่วมแบ่งปัน น้ำใจ ใช้ไม่เคยหมด


ดูรายละเอียด
« ตอบ #31 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 01:25:41 »

คำว่า"ใช้ด้วยกันได้"
มีปัจจัยในเรื่องราคา และ ชนิดของน้ำมันมาเกี่ยวด้วย เช่น น้ำมันธรรมชาติ กึ่งสังเคราะห์ และสังเคราะห์ 100%
ถ้าน้ำมันเครื่องของดีเซลตัวธรรมชาติ มาใส่เบนซิลผมว่าก็ไม่น่าได้นะ
บันทึกการเข้า

smilegames
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6,978



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #32 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 01:39:09 »

http://alairotyon.blogspot.com/2011/05/blog-post_26.html
ไม่ใช่แฟน..ทำแทนไม่ได้!!! แต่..น้ำมันเครื่องดีเซลและเบนซิน แทนกันด้าย...ย
 
          ถ้าท่านมีน้ำมันเครื่องที่เหลือจากการเปลี่ยนถ่ายครั้งก่อน หรือที่แถมมาตอนซื้อนั่นแหละครับ ลองสังเกตดูตรงฉลากที่ติดด้านหน้าแกลลอนดูครับ จะพบตัวหนังสือประมาณนี้
          ถ้าเป็นน้ำมันเครื่องของเบนซิน จะเขียนประมาณว่า API SM/CF , API SL/CF หรือ API SJ/CF ...เป็นต้น
          ถ้าเป็นน้ำมันเครื่องของดีเซล ก็จะเขียนประมาณว่า API CI-4/SL , API CH-4/SL หรือ API CG-4/SJ ...เช่นกัน
          มาดูความหมายของตัวอักษรกันดีกว่าครับ
         ให้ดูอักษรตัวแรกที่ต่อจากคำว่า API ครับ
         
          " S " มาจากคำว่า service หรือ spark ignition engine หมายถึง เครื่องยนต์ที่จุดระเบิดโดยใช้ประกายไฟจากเขี้ยวหัวเทียน ซึ่งหมายถึงเครื่องเบนซินนั่นเองครับ
         
          " C " มาจากคำว่า commercial หรือ compression ignition engine หมายถึงเครื่องยนต์ที่จุดระเบิดโดยใช้ความร้อนจากการอัดตัวของอากาศ ซึ่งหมายถึงเครื่องยนต์ดีเซลนั่นเองครับ
          เมื่อเป็นเช่นนี้ ก็หมายความว่า เราสามารถใช้น้ำมันเครื่องชนิดเดียวกัน ได้ทั้งกับเครื่องดีเซลและเครื่องเบนซิน (เพราะน้ำมันยี่ห้อเดียวกัน จะระบุค่า S และ C ในแกลลอนเดียวกัน)
          และหากที่บ้านของท่าน มีทั้งรถเก๋งและปิคอัพ ท่านก็สามารถที่จะซื้อน้ำมันเครื่องยี่ห้อเดียว แล้วนำมาใส่ได้ทั้งสองคัน ก็เป็นการประหยัด และไม่ผิดกฎกฏิกาแต่อย่างใดทั้งสิ้นครับ (ส่วนที่แตกต่างของน้ำมันเครื่อง อยู่ที่เกรดของน้ำมันครับ โดยดูได้จากตัวอักษรที่ต่อจาก S และ C ครับ วันหน้าจะมาอธิบายเพิ่มเติมครับ ปรกติราคามักเป็นตัวกำหนดคุณภาพครับ ยิ่งแพงน้ำมันมักจะดี แต่ก็ควรเทียบยี่ห้อด้วยนะครับ บางครั้งเกรดเดียวกัน ต่างยี่ห้อก็ต่างราคานะครับ)
         
          ซ.ต.พ. = ซึ่งต้องพิสูจน์
          note : API มาจาก American Petroleum Institute
                     สถาบันปิโตรเลียมของอเมริกา


ตัวอย่างน้ำมันเครื่องเบนซิน API SM/CF




ตัวอย่างน้ำมันเครื่องดีเซล API CH-4/SJ

บันทึกการเข้า

smilegames
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6,978



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #33 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 01:45:27 »

คำว่า"ใช้ด้วยกันได้"
มีปัจจัยในเรื่องราคา และ ชนิดของน้ำมันมาเกี่ยวด้วย เช่น น้ำมันธรรมชาติ กึ่งสังเคราะห์ และสังเคราะห์ 100%
ถ้าน้ำมันเครื่องของดีเซลตัวธรรมชาติ มาใส่เบนซิลผมว่าก็ไม่น่าได้นะ
ส่วนใหญ่เป็นอย่างนี้ น้ำมันเครื่องสำหรับเบนซิล จะน้อยราคาสูงกว่า แถมเอาไปใช้กับดีเซล เกรดก็จะต่ำลง คนใช้ดีเซลก็เลยไม่นิยมซื้อ แถมเติมไม่ค่อยพอด้วย
ในทางกลับกัน น้ำมันเครื่องดีเซล ดูแล้วถูกกว่า เพราะปริมาณเยอะกว่า แต่พอเอาไปใช้กับ เบนซิล เกรดก็จะ่ต่ำลง คนที่ใช้เบนซิลก็เลยไม่นิยมซื้อเหมือนกัน แ่ถมเยอะเกินอีก น้ำมันเครื่องพอเปิดใช้แล้วเก็บไว้นานก็ไม่ดี   

ผู้ใช้ส่วนใหญ่ เลยแยกกันซื้ออย่างชัดเจน รวมทั้งผมด้วย แต่ถ้าถามว่าใช้ได้ไหม ก็ตอบว่าได้  พี่ชายเคยเป็นเซลล์น้ำมันเครื่อง เขาก็บอกผมมากอย่างนี้
บันทึกการเข้า

MR_C_ รักในหลวง
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10,620


ร่วมสร้างสรรค์ ร่วมแบ่งปัน น้ำใจ ใช้ไม่เคยหมด


ดูรายละเอียด
« ตอบ #34 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 02:03:21 »

 คำนับ คำนับ คำนับ
บันทึกการเข้า

แอลกอฮอล์40ดีกรี
นักแข่งมืออาชีพอันดับหนึ่ง
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,458


ดูรายละเอียด
« ตอบ #35 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 09:07:10 »

เคยใช้ลูกเหม็นเหมือนกันคับ

ใส่ในมอไซ นานมาแล้วหลายปี ข่าวออกมาลูกเหม็นมีสาร เพิ่มออกเทนได้

ถังนึงใช้ สองลูก มอไซนะ ตอนแลก รองเอาน้ำมันเทใส่ ขวดแล้วลูกเหม็นใส่ดู สังพักละลาย เป้นเนื้อเดยวกัน ก็เลยเทใส่ ดู ใช้งานก็ปกติ

แต่เป็นคนขี่มอไซเร็ว แล้วคาบิวแต่ง ก็เลยไม่รู้ว่ามันแรงหรือประหยัดขึ้นรึเปล่าปกติดี เหมือนว่ามันจะลื่นขึ้นนะ
ลูกเหม็นใช้ได้คับ ลองแล้วตามนั้นเลย
บันทึกการเข้า

ซ่อมแอร์รถยนต์ครับ ปรึกษาได้ครับไม่ฟันไม่กัดครับใจดี0852622362
Oon_Resist .CZ
Web Administrator
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,524

มี Program จูน F-con S,SZ,IS,2.1,3.14,3.24 จำหน่าย


ดูรายละเอียด
« ตอบ #36 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 09:42:57 »

ลูกเหม็นมันจะทำให้ออกเทนสูงขึ้นครับ แต่การใส่มันไม่มีสูตรตายตัว ใส่เยอะไปจุดติดยากเลยสดุด ใส่น้อยไปก็ไม่เห็นผล ดันไฟแล้วยังได้ยินเสียงน๊อค เรื่องสูตรผีบอกแบบนี้ต้องลองด้วยตัวเองครับ ผมเคยลองตอนใช้ครื่อง 20V ฝาขาว ติดแก็สแล้วดันไฟให้แก่ เดินแก็สไม่น๊อค แต่สลับมาใช้น้ำมันน๊อคกระจาย ผมก็เอาลูกเหม็นละลายกับน้ำมันแล้วเทผสมลงในถัง เสียงน๊อคก็เบาลงครับ
บันทึกการเข้า

( . )jab-ben( . )
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 4,179


น้องใหม่ ขอปั้นx


ดูรายละเอียด
« ตอบ #37 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 09:54:09 »

อ่านหนังสือ
ความเห็นส่วนตัวนะครับ น้ำมันเครื่องก็คือน้ำมันเครื่อง มีหน้าที่หล่อลื่นเหมือนกัน แต่การผสม กลั่น หรือวิธีการผลิตนั้น ผลิตเฉพาะเพื่อคุณสมบัติสำหรับเครื่องยนต์ต่างๆกัน
ดีเซลนั้นรอบต่ำ เบนซิลนั้นรอบสูง ถ้าใช้น้ำมันเครื่องที่ผลิตมาเพื่อเครื่องรอบต่ำมาใช้กับเครื่องรอบสูงมันจะมีปัญหาไหมครับ ถ้าน้ำมันมันมีคุณสมบุติระเหยที่ความร้อนสูง(จากรอบที่จัดมากๆ) มันจะแปลงร่างจากน้ำมันเป็นของเหลวชนิดอื่นที่ไม่มีคุณสมบัติหล่อลื่นรึเปล่า อันนี้ไม่รู้และไม่อยากลอง
ถ้ามันใช้แทนกันได้จริงๆ น้ำมันเครื่องสำหรับเครื่องเบนซิลคงจะเลิกผลิตไปแล้วเพราะซื้อของดีเซลมาใช้ถูกกว่าเยอะกว่า
ความเห็นส่วนตัวล้วนๆครับ  คำนับ
เรื่องลูกเหม็นหรือดินน้ำมันไม่ขอลองครับ

ผมก็เคยประสบด้วยตนเองครับ เรื่องของน้ำมันเครื่องระเหย กับเครื่องฝาดำผมนี่แหละครับ ขับปกติรอบไม่เกิน 3000 ไม่หายครับ แต่ ซัดหน่อย ซัก1-2กม หรือ วิ่งทางไกลรอบศูง ก้ หายเลยครับ
เท่าที่หาอ่านเครื่องที่ผ่านการใช้งานมานานแล้วควรเพิ่มความหนืดคือตัวเลขด้านหลังอะคับเช่นxw-30 ให้เพิ่มทีละ10คับ รถใหม่ป้ายแดงช่องว่าง ระยะการสึกหรอน้อยอยู่ใช้30ได้ แต่ถ้าเครื่องใช้มานานแล้วใช้30-40อาจจะใสเกินไป ทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับอุณหภูมิที่ภูมิอากาศนั้นๆด้วยคับ หรือพูดอีกอย่างคือเลขด้านหน้าแทบไม่ต้องสนใจเพราะว่าเราไม่ใช่เมืองหนาว เราเปนเมืองร้อน ยิ่งเครื่องร้อนน้ำมันใสเกินไปอาจจะระเหยหรือเคลือบชิ้นส่วนต่างๆน้อยลง
บันทึกการเข้า

( . )jab-ben( . )
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 4,179


น้องใหม่ ขอปั้นx


ดูรายละเอียด
« ตอบ #38 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 10:02:18 »

3. เกรดความหนืด
เกี่ยวข้องกับการสร้างชั้นเคลือบและการไหลเวียน
เป็น อัตราการไหลของปริมาณน้ำมันเครื่องต่อขนาดและควา มยาวของรู ต่อหน่วยเวลา ณ อุณหภูมิหนึ่ง เช่น น้ำมัน 60 ซีซี (ลูกบาศก์เซนติเมตร) ไหลผ่านรูขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.77 มิลลิเมตร ความยาวของรู 12.25 มิลลิเมตร ณ อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสโดยมีหลายหน่วยการวัด เช่น ระบบเมตริก หน่วย cSt เซนติกโตส, สหรัฐอเมริกา หน่วย SUS, SSU วินาทีเซย์โบลต์, อังกฤษ หน่วย RW1 เรดวู๊ด และยุโรป E อิงเลอร์ โดยมีความแตกต่างกันในรายละเอียดและทุกอุณหภูมิการวั ด

หน่วยการวัด ข้างต้นเกี่ยวข้องกับงานอุตสาหกรรมเป็นหล ัก ล้วนมีความยุ่งยากในการจดจำ ไม่เป็นสากล และไม่สะดวกในการเลือกใช้น้ำมันเครื่องทั่วโลก จึงมีสมาคมในสหรัฐอเมริกาที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโ ลก กำหนดเกรดความหนืดที่สะดวกและชัดเจนขึ้นใหม่ และง่ายต่อการเลือกของผู้บริโภค เปรียบเทียบกับหลายหน่วยการวัดข้างต้นได้แม่นยำ หน่วยงานนั้นคือ สมาคมวิศวกรรมยานยนต์ SAE - SOCIETY OF AUTOMOTIVE ENGINEERSโดยกำหนดใช้อักษรย่อ SAE ตามด้วยเกรดความหนืดเป็นตัวเลขจำนวนเต็มที่ลงท้ายด้ว ย 5 หรือ 0 เช่น 15, 30 หรือ 50 ฯลฯ เลขมากยิ่งหนืด เลขน้อยยิ่งใส เช่น 50 หนืดกว่า 40 และ 5 ใสกว่า 20 โดยวัดที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส (210 องศาฟาเรนไฮต์) ซึ่งใกล้เคียงกับอุณหภูมิของน้ำมันเครื่องที่ไหลเวีย นขณะเครื่องยนต์ทำงาน

ถ้า วัดที่ -18 องศาเซลเซียส (0 องศาฟาเรนไฮต์) ซึ่งใกล้เคียงกับอุณหภูมิของอากาศในบางประเทศที่หนาว จัด เพื่อป้องกันปั*หาน้ำมันเครื่องหนืดเกินไปจนไหลไม่ไห ว จะตามท้ายตัวเลขด้วยตัวอักษร W-WINTER เช่น 5W, 10W หรือ 20W ฯลฯ การเลือกน้ำมันเครื่องในไทย ให้สนใจตัวเลขเปล่าๆที่ไม่ได้ตามท้ายด้วย W เพราะไม่มีอุณหภูมิติดลบ อากาศปกติก็ 20-35 องศาเซลเซียสอยู่แล้ว

การ เลือกใช้น้ำมันเครื่องในด้านเกรดความหนืด ต้องเกี่ยวข้องกับอุณหภูมิอากาศทั่วไป และสภาพความหลวมของชิ้นส่วนภายในเครื่องยนต์ เพราะต้องมีความหนืดเหมาะสมต่อการไหลเวียนภายในเครื่ องยนต์ เช่น ถ้าอากาศภายนอกเย็นจัด น้ำมันเครื่องก็ควรใส ไหลง่าย ในช่วงสตาร์ทเครื่องยนต์และยังไม่ร้อน ถ้าน้ำมันเครื่องหนืดเกินไปก็ไหลเวียนไม่ทัน และอาจทำให้เครื่องยนต์สึกหรอหรือพัง

หากอากาศร้อนหรือเมื่อเครื่อง ยนต์ร้อนแล้ว แต่น้ำมันเครื่องใสเกิน ก็จะมีชั้นเคลือบบางเกินไป ทำให้เกิดการสึกหรอ และสิ้นเปลืองน้ำมันเครื่องจากการเล็ดลอดผ่านแหวนลูก สูบหรือยางหมวกวาล์วได้ น้ำมันเครื่องทุกชนิดสามารถแบ่งแยกได้อีกโดยเกรดความ หนืด คือ เกรดเดี่ยว-เกรดความหนืดเดี่ยว (SINGLE GRADE) และเกรดรวม-เกรดความหนืดรวม (MUTI GRADE)

น้ำมันเครื่องเกรดความหนืดเดี่ยว
เรียกสั้นๆ ว่า น้ำมันเครื่องเกรดเดี่ยว ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ในภูมิประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงอ ุณหภูมิน้อย เช่น ร้อนหรือเย็นไปเลย ทั้งกลางวันกลางคืนและในฤดูต่างๆน้ำมันเครื่องไม่สาม ารถปรับความหนืดให้เหมาะสมเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไ ด้ เช่น น้ำมันเครื่องเมืองหนาว ถ้านำมาใช้เมืองร้อนก็ใสเกินไปและไม่สามารถปรับตัวให ้หนืดขึ้นได้ ส่วนน้ำมันเครื่องเมืองร้อน ถ้านำมาใช้เมืองหนาวก็ข้นเกินไป ไหลไม่ไหว และไม่สามารถปรับตัวให้ใสได้ จำเป็นต้องเลือกใช้ให้ตรงกับอุณหภูมิ เมืองร้อนจะเลือกใช้น้ำมันเครื่องของเมืองหนาวเกรดคว ามหนืดเดี่ยวที่วัดและระบุเป็น SAE ?W ไม่ได้

สำหรับน้ำมันเครื่อง เมืองร้อน มีการผลิตและวัดความหนืดที่ 100 องศาเซลเซียส ระบุเป็นตัวอักษรย่อ SAE ตามด้วยตัวเลขเปล่าๆ เช่น SAE 20น้ำมันเครื่องเมืองหนาว มีการผลิตและวัดความหนืดที่ -18 องศาเซลเซียส ระบุเป็นตัวอักษรย่อ SAE ตามด้วยตัวเลขและอักษร W เช่น SAE 10Wปัจจุบันน้ำมันเครื่องเกรดเดี่ยวได้รับความนิยมน้ อย เพราะผู้ผลิตหันไปทุ่มเทกับน้ำมันเครื่องเกรดความหนื ดรวมซึ่งสามารถจำหน่ายได้ทั่วโลกทั้งเมืองร้อนเมืองห นาว

น้ำมันเครื่องเกรดความหนืดรวม
เรียก สั้นๆ ว่า น้ำมันเครื่องเกรดรวม ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ในภูมิประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงอ ุณหภูมิมากในแต่ละช่วงเวลาหรือฤดู หรือผลิตสูตรเดียวแต่สามารถจำหน่ายได้ทุกภูมิภาคทั่ว โลก น้ำมันเครื่องเกรดรวมสามารถปรับหรือคงความหนืดให้เหม าะสมสำหรับการใช้งานทุกอุณหภูมิได้ เมื่อร้อนจะปรับตัวให้หนืด และถ้าเย็นลงจะปรับตัวให้ใส

โดยมีการผลิตและวัดความหนืด ณ 2 อุณหภูมิ คือ ที่ -18 องศาเซลเซียส ระบุเป็นตัวเลขตามหลังด้วยตัวอักษร W เช่น 10W และที่ 100 องศาเซลเซียส ระบุเป็นตัวเลขเปล่าๆ เช่น 20 แล้วนำมาระบุรวมกันตามหลังตัวอักษรย่อ SAE โดยนำการวัดที่ -18 องศาเซลเซียสนำหน้าแล้วคั่นด้วยเครื่องหมาย - เช่น SAE 20W-50การผลิตน้ำมันเครื่องเกรดความหนืดรวมให้สามารถปรับ ความหนืดได้ เมื่อร้อนแล้วหนืด เย็นแล้วใส ต้องมีการเติมสารปรับความหนืด ซึ่งส่วนให*่นิยมใช้สารโพลีเมอร์ ที่เป็นโมเลกุลสายยาว เมื่อเย็นจะหดตัว น้ำมันเครื่องจึงใส ถ้าร้อนจะขยายและยืดตัวออก ทำให้น้ำมันเครื่องข้นขึ้น

โพ ลีเมอร์ แม้จะทำให้น้ำมันเครื่องสามารถปรับความหนืดได้ แต่เมื่อผ่านการใช้งานไประยะหนึ่ง โมเลกุลสายยาวของโพลีเมอร์มักจะขาดออกจากกัน เมื่อร้อนการขยายตัวจะน้อยลง และทำให้น้ำมันเครื่องมีความหนืดลดลงบ้าง ต่างจากน้ำมันเครื่องเกรดความหนืดเดี่ยวในมาตรฐานเดี ยวกันซึ่งไม่มีการเติมสารโพลีเมอร์ จะคงความหนืดเมื่ออายุการใช้งานผ่านไปได้ดีกว่า

ตัวเลขที่ระบุความ หนืด ลงท้ายด้วยตัวอักษร W วัดที่ -18 องศาเซลเซียส ตามด้วยตัวเลขเปล่าๆ วัดที่ 100 องศาเซลเซียส เช่น SAE 10W-50 ยิ่งมีตัวเลขห่างกัน เช่น 10 กับ 50 เกินกว่า 35 (50-10) แสดงว่าน้ำมันเครื่องนั้นสามารถปรับความหนืดตามการเป ลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้มาก ปรับตัวให้ใสหรือข้นได้มากแต่เมื่อผ่านการใช้งานไปแล ้ว ความหนืดของน้ำมันเครื่องเมื่อร้อนหรือประมาณ 100 องศาเซลเซียส มีแนวโน้มว่าจะลดลงได้เร็วกว่าน้ำมันเครื่องที่มีเลข เกรดความหนืดห่างกันน้อยๆ เช่น ตามตัวอย่างจากเดิม SAE 10W-50 ความหนืดอาจเหลือเทียบได้เป็น SAE 10W-40

ปัจจุบันน้ำมันเครื่องเกรด ความหนืดรวมได้รับความนิยม ทั้งในการผลิตและใช้งาน เพราะครอบคลุมทุกอุณหภูมิ ทั้งที่ในบางประเทศที่อุณหภูมิไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงอย่ างไทย สามารถเลือกใช้น้ำมันเครื่องเกรดความหนืดเดี่ยวได้ก็ ตาม อากาศในไทยมีอุณหภูมิเฉลี่ย 20-35 องศาเซลเซียส และเครื่องยนต์ก็ร้อนมาก หากเลือกใช้น้ำมันเครื่องเมืองหนาว ไม่ว่าเกรดความหนืดเดี่ยวหรือรวม การวัดค่าความหนืดตามตัวอักษรย่อ SAE และลงท้ายด้วยตัวอักษร W ที่ -18 องศาเซลเซียส จะไม่เกี่ยวข้องและไม่ต้องสนใจ ให้ดูที่การระบุความหนืดด้วยตัวเลขเปล่าๆ เป็นหลัก

การเลือกความหนืด ของน้ำมันเครื่องให้ดูจากคู่มือประจ ำรถยนต์ แล้วใช้ให้ตรงตามกำหนด โดยเน้นเฉพาะตัวเลขที่ไม่ได้ตามด้วยตัวอักษร Wแต่ถ้าไม่มีคู่มือให้เลือกตามนี้ เมืองไทยมีอากาศร้อนถึงร้อนมาก และไม่มีติดลบ สามารถเลือกใช้น้ำมันเครื่องทั้งแบบเกรดความหนืดเดี่ ยวและเกรดความหนืดรวมสำหรับเมืองร้อน โดยสนใจค่าความหนืดเฉพาะค่า SAE ที่ไม่ได้ลงท้ายด้วยตัวอักษร W เป็นความหนืด 40 หรือ 50

เครื่องยนต์ ใหม่ไม่เกิน 50,000-100,000 กิโลเมตร สามารถใช้น้ำมันเครื่องความหนืด SAE 40 ใสหน่อยได้ เพราะชิ้นส่วนยังไม่มีช่องว่างห่างมากนัก และอนุโลมให้ใช้ความหนืด 50 ได้ ส่วนเครื่องยนต์ที่เริ่มเก่าหรือผ่าน 100,000 กิโลเมตรไปแล้ว ควรใช้ความหนืด SAE 50

หากเลือกใช้เองเป็น ความหนืด SAE 40 ให้ดูด้วยว่ามีการกินน้ำมันเครื่องมากผิดปกติไหม (ไม่ควรเกิน 2,000-3,000 กิโลเมตรต่อน้ำมันเครื่อง 0.5-1 ลิตร) และมีควันสีขาวจากการเผาไหม้น้ำมันเครื่องที่เล็ดลอด เข้าห้องเผาไหม้ผสมออกมากับไอเสียหรือไม่ ถ้าผิดปกติให้เปลี่ยนไปใช้ความหนืด SAE 50

เครื่องยนต์ที่ผ่านการใช้ งานไปสักระยะหนึ่ง จะมีช่องว่างระหว่างชิ้นส่วนต่างๆ มากขึ้น โดยเฉพาะแหวนลูกสูบ ลูกสูบ และกระบอกสูบ แม้จะใช้น้ำมันเครื่องที่มีความหนืดตามกำหนดในคู่มือ ประจำรถยนต์แล้ว ก็ควรดูว่าในการใช้งานจริงเครื่องยนต์มีการกินน้ำมัน เครื่องผิดปกติไหม ถ้ามากควรเปลี่ยนไปใช้น้ำมันเครื่องที่มีความหนืดเพิ ่มขึ้นสัก 10 เบอร์ เช่น เดิมใช้ SAE 30 ก็ขยับไปเป็น SAE 40 แล้วดูอาการซ้ำอีก ยังไม่ควรข้ามจาก SAE 30 ไปยัง SAE 50 หรือเปลี่ยนครั้งเดียวเพิ่มขึ้น 20 เบอร์ไปเลย

เครื่องยนต์ส่วนให*่ถูกกำหนดให้ใช้น้ำมันเครื่องความ หนืด SAE 40-50 ในช่วงแรก โดยมีรุ่นที่กำหนดให้ใช้ SAE 30 บ้างประปราย แต่เมื่อใช้งานเครื่องยนต์จนเกิน 100,000 กิโลเมตรไปแล้ว ส่วนให*่ก็ควรเลือกใช้ SAE 40 หรือ 50 เพื่อให้ชั้นเคลือบของน้ำมันเครื่องหนาเหมาะสมกับระย ะห่างของชิ้นส่วนต่างๆ

การ ใช้มันเครื่องใสเกินไป ทำให้ชั้นเคลือบของน้ำมันเครื่องบางเกินไปจนเกิดการส ึกหรอมาก แต่ก็ทำให้เครื่องยนต์และปั๊มน้ำมันเครื่องรับภาระน้ อยลง เพราะน้ำมันเครื่องไหลง่าย เครื่องยนต์ก็หมุนง่ายไม่หนืด เครื่องยนต์ที่ใช้ในการแข่งขันนิยมใช้ความหนืดของน้ำ มันเครื่องพอดีๆ หรือใสไว้หน่อย เน้นกำลังของเครื่องยนต์โดยไม่กลัวการสึกหรอ แต่สำหรับการใช้งานทั่วไป ไม่ควรเลือกใช้น้ำมันเครื่องใสเกินไป เพราะจะเกิดการสึกหรอมาก แต่ก็ไม่ควรใช้หนืดเกินไป เพราะถึงแม้ชั้นเคลือบจะหนา แต่น้ำมันเครื่องไหลยากอาจหมุนเวียนไม่ทัน และสร้างภาระจนทำให้เครื่องยนต์กำลังตกลงได้

น้ำมันเครื่องปลอม & การเปลี่ยน อย่าเหนือห้องทดลองด้วยตาหรือปลายนิ้ว
น้ำมัน เครื่องปลอมหรือไม่ ไม่อาจทราบได้ด้วยตาหรือการสัมผัส ต้องทดสอบในห้องทดลอง จึงควรซื้อในร้านหรือแหล่งที่ไว้ใจได้การตัดสินใจเปล ี่ยนน้ำมันเครื่องไม่สามารถเดาได้เอง เช่น สีคล้ำ แตะนิ้ว น้ำมันเครื่องมีสีคล้ำเร็วเกิดจาก 2 กรณี คือ มีการชะล้างที่ดี หรือภายในเครื่องยนต์สกปรก น้ำมันเครื่องที่ดำช้ามี 2 กรณี คือ ชะล้างไม่ดี หรือภายในเครื่องยนต์สะอาด (ไม่ค่อยเป็นไปได้) สีของน้ำมันเครื่องไม่สามารถสรุปได้ว่าคุณสมบัติด้าน อื่นยังคงอยู่หรือเปล่า

การดึงก้านวัดน้ำมันเครื่องขึ้นมาแล้วใช้ ปลายนิ้วแตะ เพื่อวัดความหนืด ไม่มีความชัดเจน เพราะการวัดความหนืดและประสิทธิภาพด้านอื่นต้องเข้าห ้องทดลอง ความรู้สึกของปลายนิ้วไม่สามารถบอกว่าน้ำมันเครื่องน ั้นสามารถสร้างชั้นเคลือบได้ดีหรือไม่ ไฉนแค่ปลายนิ้วสัมผัสจะเก่งกว่าห้องทดลองอันแม่นยำ

เมื่อไหร่น้ำมันเครื่องเสื่อม
มิได้เสื่อมได้ด้วยระยะทางเท่านั้น แต่เกี่ยวข้องกับ 3 อย่าง คือ ระยะทาง ลักษณะการใช้งาน และเวลา

ระยะทาง
เกี่ยว ข้องกับชนิดของน้ำมันเครื่องเป็นหลัก แต่ก็ต้องขึ้นอยู่กับองค์ประกอบอื่นด้วยน้ำมันเครื่อ งชนิดสังเคราะห์ใช้งานได้ระยะทางมากกว่า โดยเฉลี่ยใช้งานทั่วไปได้ 10,000 กิโลเมตร ชนิดธรรมดา 5,000 กิโลเมตร และแบบกึ่งสังเคราะห์อยู่กึ่งกลาง คือ 5,000-7,000 กิโลเมตร

โดยผู้ผลิตในต่างประเทศกำหนดระยะทางใช้งานไว้ มากกว่า นี้ แต่การแนะนำข้างต้นได้ประยุกต์ลดลงมา ด้วยเหตุผลอันแตกต่างสำหรับการใช้งานในเมืองไทย และอ้างอิงตามกำหนดของศูนย์บริการทั่วไป

ลักษณะการใช้งาน
ส่งผลโดยตรงและเกี่ยวข้องกับระยะทางที่ใช้น้ำมันเครื ่อง

การ จราจรติดขัดในไทย เครื่องยนต์ยังทำงาน น้ำมันเครื่องยังหมุนเวียน แต่ระยะทางเพิ่มขึ้นน้อยมาก 1 ชั่วโมงอาจได้ระยะทางเพียง 5-10 กิโลเมตร แต่การขับรถยนต์เดินทางไกลหรือในต่างประเทศ 1 ชั่วโมงน่าจะได้ระยะทาง 30-50 กิโลเมตร

การใช้รถยนต์ในกรุงเทพฯ หรือการจราจรติดขัดมาก ควรเฉลี่ยลดระยะทางในการเปลี่ยนน้ำมันเครื่องลงจากมา ตรฐานในต่างประเทศบ้างน้ำมันเครื่องชนิดสังเคราะห์จา ก 10,000-20,000 กิโลเมตร เหลือ 8,000-10,000 กิโลเมตร ชนิดกึ่งสังเคราะห์จาก 10,000-14,000 กิโลเมตร เหลือ 5,000-7,000 กิโลเมตร และชนิดธรรมดาจาก 10,000 กิโลเมตร เหลือ 3,000-5,000 กิโลเมตร

แต่ถ้าใช้งานบนการจราจรติดขัดไม่มาก หรือสลับระหว่างการจราจรติดขัดกับทางไกล ก็เพิ่มระยะทางที่เหมาะสมขึ้นได้ ส่วนเส้นทางที่เต็มไปด้วยฝุ่นก็ลดทอนระยะทางที่เหมาะ สมลงบ้าง เพราะฝุ่นที่เล็ดลอดผ่านไส้กรองอากาศเข้าไปในกระบอกส ูบ จะเล็ดลอดผ่านแหวนลูกสูบลงไปผสมกับน้ำมันเครื่องได้
เวลา
รถยนต์บาง คันจอดมากกว่าใช้งานน้ำมันเครื่องสามารถเสื ่อมลงได้แม้เครื่องยนต์ไม่ค่อยถูกใช้งาน เพราะมีการทำปฏิกิริยากับอากาศมากบ้าง น้อยบ้าง แม้ระยะทางไม่ครบกำหนด น้ำมันเครื่องสังเคราะห์และกึ่งสังเคราะห์ควรเปลี่ยน ทุก 6-9 เดือน และน้ำมันเครื่องธรรมดาไม่เกิน 6 เดือน

น้ำมันเครื่องที่เหลือในกระป๋องต้องปิดฝาให้สนิท เก็บไว้ในที&#
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 06 ตุลาคม 2011 10:15:10 โดย ( . )jab-ben( . ) » บันทึกการเข้า

อิ๊กปากเกร็ด
นักแข่งมืออาชีพอาวุโส
********
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 9,231


เก็บไปเรื่อยๆ คนมันจน ให้ทำไงได้ ><!


ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #39 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2011 10:53:11 »

เออแฮะ.

ลุกเหม็นนี่ น่าลองๆๆ

หารถผู้โชคร้ายก่อน  ซูม ซูม ซูม ซูม
เวฟคันที่บ้านน่ะ หยอดไปเลย 2 เม็ด

 เหวอ เหวอ
บันทึกการเข้า



มิตรภาพที่ไม่เคยลืมเลือน ใน aeracingclub
มีแต่คน .... เท่านั้น ที่สะกดคำว่า "เพื่อน" ไม่เป็น




ทุกวันนี้บ้านเค้าจะเป็นเชียงกงขึ้น ทุกวันๆ และ  งอแง
หน้า:  «  1 [2] 3  »    ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006-2008, Simple Machines | Thai language by ThaiSMF Valid XHTML 1.0! Valid CSS!